-->
ขุขันธ์ เมืองเก่า ชนทุกเผ่าสามัคคี บารมีพระแก้วเนรมิตวัดลำภูคู่หลวงพ่อโตวัดเขียน กระอูบ เกวียน ครุน้อย เครื่องจักสาน ปราสาทโบราณเป็นศรี ประเพณีแซนโฎนตา...ต้นไม้จะอยู่ได้ก็เพราะราก ชาติจะอยู่ได้ก็เพราะวัฒนธรรม การทำลายต้นไม้ ง่ายที่สุด คือทำลายที่ราก การทำลายชาติไม่ยาก ถ้าทำลายวัฒนธรรม...ไร้รากเหง้า วัฒนธรรม วิถีชีวิต และจิตวิญญาณ ไร้เรา...

วันเสาร์ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2560

การประกอบอาชีพของชาวอีสานในรอบ 12 เดือน เมื่อปี พ.ศ. 2427

          ...นอกจากนี้ ขุนมหาวิไชย ยังไดเขียนบทความ “เรื่องไปเที่ยวหัวเมืองลาวฝายตะวันออก” ซึ่งเปนบทความที่เลาถึงการเดือนทางไปอีสาน ของขุนมหาวิไชยรวมกับเพื่อนอีก 2 คน ในชวงป ร.ศ. 111 (พ.ศ. 2435) โดยเริ่มเลาการออกเดินทางตั้งแตกรุงเทพฯ สมุทรปราการ บางปะกง ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ประจันตะคาม กระบินทรบุรี สระแกว วัฒนานคร อรัญประเทศ ทุงศรีโสภณ สารภี สวายจีด ถมอพวก (หินกอง) เขาชองเสม็ด ปากชอง ปากดง สุรินทร ศรีสะเกษ จนถึงอุบล โดยใชระยะเวลาเดินทางทั้งสิ้น 28 วัน นอกจากการบรรยายถึงการเดินทางแลว ขุนมหาวิไชย ยังใหความรูเกี่ยวกับการประกอบอาชีพของชาวอีสานในรอบ 12 เดือน อันประกอบดวย

เดือนอายถึงเดือนยี่ ทําแฝก หุงเกลือ ปนฝาย ปลูกยาสูบ
เดือนสามเดือนสี่ ทอหูกฝาย ผูชายเขาปาหาที่ตัดไร (หาที่ทํากิน)
เดือนสี่เดือนหา เผาสุมพื้นไร
เดือนหก ลงมือปลูกพืชในพื้นที่ที่ถากถางมาได้ เชน ปลูกออย ขาว ฝาย อุลิต (แตงโม) และแตงไทย สวนงานของผูหญิงในเดือน 5 ถึง เดือน 6 คือตัดตนมอน (หมอน) แลถางหญาในสวนมอน (หมอน) บางทีก็ทอหูกผาทําเปนผาซิ่น ผานุงผูชาย ผาขาวมาบาง
พอถึงเดือนเจ็ด เดือนแปด ก็จะลงมือดํานาทั่วกันทุกหมูบาน จนถึงเดือนเกาจึงเสร็จสิ้น
ในระหวางเดือนสิบและเดือนสิบเอ็ด ผูหญิงจะนิยมเลี้ยงไหม
ในชวงเดือนสิบเอ็ดถึงเดือนสิบสอง ทุกบานทุกตําบลจะลงมือเกี่ยวขาวเบาและขาวหนัก
พอถึงเดือนสิบสอง ก็ทําการนวดขาวและขนขาวขึ้นยุงฉาง

          ซึ่งถือเปนการประกอบอาชีพในรอบหนึ่งปของชาวอีสาน การใหรายละเอียดเกี่ยวกับการประกอบอาชีพของคนอีสานเปนเดือนๆ นอกจากจะทําใหกลุมชนชั้นนําสยามเห็นภาพของการประกอบอาชีพของคนอีสานในรอบหนึ่งปแลว ยังทําใหขุนมหาวิไชยไดทราบถึงสาเหตุความยากจนของคนในพื้นที่ ดังที่กลาววา

          “เมื่อพิจารณาดูตามกิจการที่ประชุมชนเหลานี้ไดประกอบแลว ก็เห็นวามีความเพียรหาเลี้ยงชีพโดยกวดขัน แตทําไมคนพวกนี้จึงมีความขัดสนขนจนนัก เปนเพราะเหตุใด การหาเลี้ยงชีพที่พวกลาวชาวตะวันออกทั้งหลายไดประกอบโดยความเพียรดังกลาวแลว แตพวกเหลานี้มีความขัดสนขนจนนั้น เปนเพราะสิ่งทั้งปวงที่ทําขึ้นแลจําหนายขายไมใครได ถึงจําหนายไดก็ไดราคาเต็มที่ ความจนเปนเพราะหาเงินยากนี่เอง ใชจะจนเพราะความเกียจครานก็หามิได ถาสิ่งที่เขาทําขึ้นนั้นขายไดราคาแพงพอสมควรแลจําหนายขายไดคลองแลว พวกเหลานี้ก็คงจะร่ํารวยมีเงินทองเปนแน”
          ความคิดเชนนี้แสดงใหเห็นภาพของการเปนคูขนานระหวาง “เมือง” กับ “ชนบท” หรือ “บานนอก” อยางชัดเจน เพราะเมืองในฐานะที่เปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจแบบการตลาด ตัวเงินไดกลายเปนสิ่งที่ใชชี้วัดสถานะความเปนอยูเปนสําคัญ ดังนั้น “ความจน” รวมไปถึง ความไมสําคัญของตัวเงินจึงเปนสิ่งที่อยู่อีกดานของความเปนเมือง และสามารถหาไดใน “ชนบท” และ“บานนอก”

ขอบคุณที่มา : 
แมคคารธี ไดกลาวถึงอาชีพการทําเกลือของคนในบริเวณอีสาน ขณะที่เดินทางผานโคราชไปสูหนองคาย ในป พ.ศ. 2427 เมื่อคราวที่ทําการสํารวจเพื่อทําแผนที่สยาม วา “ที่นั่นมีการทําเหมืองเกลือซึ่งมีสะสมอยูเปนปริมาณมากในลาน...เขาจะตองเอาหนาดินเหลานี้ใสลงในลํารางหยาบๆ ซึ่งโดยมากทําจากลําตนไมขุดใหเปนโพรง ดานลางเจาะชองใหน้ําไหลได แลวเอาน้ําที่ละลายผสมกับดินถายจากรางลงภาชนะอื่นทางชองนั้น ดําเนินกรรมวิธีดังนี้จนกวาน้ํานั้นจะไมมีรสเค็มอยูอีกตอไป แลวนํา
น้ําในภาชนะนั้นไปทําใหระเหยแหงเหลือแตผงเกลือไว”(พระวิภาคภูวดล, บันทึกการสํารวจและบุกเบิกในแดนสยาม, แปลโดย สุมาลี วีรวงศ(กรุงเทพฯ: โรงพิมพกรมแผนที่ทหาร, 2533), หนา 44 และหนา 2529-2536)


ดร.วัชรินทร์ สอนพูด ประธานสภาวัฒนธรรมอำเภอขุขันธ์
นายสุเพียร คำวงศ์ เลขานุการสภาวัฒนธรรมอำเภอขุขันธ์

สนับสนุนโดย