-->
ขุขันธ์ เมืองเก่า ชนทุกเผ่าสามัคคี บารมีพระแก้วเนรมิตวัดลำภูคู่หลวงพ่อโตวัดเขียน กระอูบ เกวียน ครุน้อย เครื่องจักสาน ปราสาทโบราณเป็นศรี ประเพณีแซนโฎนตา...ต้นไม้จะอยู่ได้ก็เพราะราก ชาติจะอยู่ได้ก็เพราะวัฒนธรรม การทำลายต้นไม้ ง่ายที่สุด คือทำลายที่ราก การทำลายชาติไม่ยาก ถ้าทำลายวัฒนธรรม...ไร้รากเหง้า วัฒนธรรม วิถีชีวิต และจิตวิญญาณ ไร้เรา...

วันเสาร์ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2560

ปัญหาการเก็บภาษีจากหัวเมืองตางๆ ในบริเวณอีสาน พ.ศ. 2373 - 2434

           การเก็บภาษีจากหัวเมืองตางๆ ในบริเวณอีสานถือไดวาเกิดการรั่วไหลมาก จากจุดออนเรื่องขาดระบบบัญชีและความโลภของเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ ปญหานี้เกิดขึ้นและมีมานาน ตั้งแตรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย สยามเริ่มทราบและระแคะระคาย สวยที่รั่วไหลและคั่งคางอยูกับเจาเมืองกรมการเมืองมาตลอด แมจะแกปญหาดังกลาวดวยการสักเลกเปนระยะๆ และแบงเปอรเซ็นต
สวยใหกับเจาเมืองกรมการ แตปญหาสวยรั่วไหลก็ยังมิไดรับการแกไขในบางเมือง เชน เมืองกมลาสัย มีสวยคางอยูกับเจาเมืองถึง 10 ป หรือบางเมืองเจาเมืองมีเจตนาเบียดบังสวยมาเปนของตน มีหลักฐานหลายชิ้นที่จับไดวาคนเหลานี้เบียดบังเอาสวยไปใชแลวอางกับกรุงเทพฯ วาไพรสวยคางชําระ เชน 

          ในป พ.ศ. 2373 หลวงประสิทธิสงครามเปนนายกองไพรสวย มีในความแล 116 คน ทําบัญชีวามีไพร 67 คน จําหนายอางวาตาย 20 คน หนีตามตัวไมได 25 คน พิการ 6 คน บวช 6 คน จึงไมสงสวย แตผลการสอบสวนปรากฏวาทํารายงานเท็จเพื่อเอาเงินสวยไปใชสวนตัว จึงทําใหเกิดปญหาการคางสวยในบริเวณอีสานมากขึ้น 
           ในป พ.ศ. 2396 กรุงเทพฯ ไดสงพระราชวรินทรารักษ เปนขาหลวงขึ้นมาชําระเรงรัดสวย ในหัวเมืองลาวฝายตะวันออกและหัวเมืองเขมรปาดง แมวาสวนกลางจะใชวิธีใหขาหลวงขึ้นมาเรงรัดสวยในสวนที่คาง แตก็พบวาไมสามารถที่จะแกปญหาการคางสวยได ดังเชน การเรงรัดสวยเมืองเดชอุดม เมืองเขมราฐ เมืองคําเขื่อนแกว และเมืองกาฬสินธุ ที่มีการเรงรัดสวยจากรุงเทพฯ อยูเสมอ
แตก็ไมเปนผล จนตองมีการใหขาหลวงออกไปเรงรัดการเก็บสวยอีกครั้งในป พ.ศ. 2403 แตกรุงเทพฯ ก็ยังเผชิญกับปญหาการคางสวยของหัวเมืองในบริเวณอีสานอยูเสมอ
        ปญหาการคางสวยจํานวนมากในบริเวณอีสานสวนหนึ่งเกิดจากการเก็บเงินสวยไปใชสวนตัวของกรมการเมืองเปรียบเสมือนการฉอ
ราษฎรบังหลวง กรณีเชนนี้ถือไดวาเปนสิ่งที่ชนชั้นนําสยามเห็นวาเปน
ปญหาทั้งสิ้น การสรางรัฐสยามสมัยใหมที่ใหความสําคัญกับการเสียภาษีอากรของราษฎรเพื่อความมั่นคงและเจริญกาวหนาของรัฐ จึงเห็นวาระบบการเก็บภาษีกอนหนานี้  เปนปญหา และถือเปนความไรประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีของระบบการปกครองเดิม
        การแกปญหาการเก็บภาษีไดเริ่มใหความสําคัญอยางจริงจังในสมัยที่พระเจาบรมวงศเธอกรมหลวงพิชิตปรีชากรเดินทางมาเปนขาหลวงสําเร็จราชการมณฑลลาวกาวที่เมืองอุบลราชธานี พระองคพบวา  มีการคางสวยเปนจํานวนมากเหตุเพราะเจาเมืองนําเอาเงินไปใชเอง จึงโปรดเกลาฯ ใหมีหมายประกาศบังคับมายังเจาเมืองกรมการตางๆ ใหทราบทั่วกัน
        ตั้งแตป พ.ศ. 2434 (ร.ศ. 110)หามไมใหเจาหมูนายกอง ผูใดเก็บเงินสวย เงินคาราชการ หรือคาอันใดสิ่งใดแกตัวไพรตั้งแตอัฐหนึ่งขึ้นไปไมวาจะเปนเงินคางเกาหรือใหมจํานวนหนึ่งใดเปนอันขาด และใหขาหลวงชําระบัญชีสวยอากรตางๆ ที่เมืองในบริเวณอีสานคางใหแลวเสร็จกอนวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2435 แลวจึงประกาศใหมีการเก็บเงินสวยอีกครั้ง ถือเปนวิธีการของกรุงเทพฯ ในการกํากับเพื่อเรียกเก็บภาษี  และรายไดที่รัดกุมยิ่งขึ้น ทําใหสยามมีรายไดเขาสูสวนกลางเพิ่มมากขึ้นทุกปแสดงใหเห็นถึงความพยายามในการบั่นทอนผลประโยชนของกลุมผูนําทองถิ่น และในขณะเดียวกันก็เปนการ
สรางและวางระบบเก็บภาษีของสวนกลางใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นดวย

ขอบคุณที่มา : 
- สุวิทย ธีรศาศวัต.รายงานการวิจัยประวัติศาสตรอีสาน 2322-2488.หนา 267.
สุวิทย ธีรศาศวัต. “ปญหาการเก็บสวยในภาคอีสานกอนสมัยปฏิรูปการปกครองในรัชกาลที่ 5”. วารสารสมาคมประวัติศาสตร29 (2550): 110.
- หอสมุดแหงชาติ. ร.4 จ.ศ. 1215 เลขที่ 194 เรื่องตั้งพิกัดอัตราคาธรรมเนียมใหขาหลวงขึ้นไปเรงรัดสวยคางเมืองลาวเขมร.อางถึงใน ธีรชัย บุญมาธรรม,“การเก็บสวยในหัวเมืองฝายตะวันออกในชวงตนสมัยรัตนโกสินทร” .วารสารธรรมศาสตร12,4(ธันวาคม 2526): 162.
- หอสมุดแหงชาติ. ร.4 จ.ศ. 1222 เลขที่ 311 รางตรานอยใหขาหลวงขึ้นไปเรงสวยคาง. อางถึงใน ธีรชัย บุญมาธรรม, เรื่องเดียวกัน, หนา 163.
- พิชิต  พิทักษ."ทองถิ่น"ในการรับรูของชนชั้นนําไทยชวงสมัยปฏิรูปการปกครอง พ.ศ. 2435. หนา 85. 
หอจดหมายเหตุแหงชาติ. ม. 62.1/34 กรมหลวงพิชิตปรีชากรทรงประกาศหามไมใหเก็บเงินภาษีอากรแกราษฎร เมื่อวันที่1 เมษายน ร.ศ. 111 (พ.ศ. 2435).
Michael Vickery. “Thai Regional Elites and the Reforms of King Chulalongkorn,” The Journal of Asian Studies 29, 4 (August 1970): 877


ดร.วัชรินทร์ สอนพูด ประธานสภาวัฒนธรรมอำเภอขุขันธ์
นายสุเพียร คำวงศ์ เลขานุการสภาวัฒนธรรมอำเภอขุขันธ์

สนับสนุนโดย