วันเสาร์ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2560

การประกอบอาชีพของชาวอีสานในรอบ 12 เดือน เมื่อปี พ.ศ. 2427

          ...นอกจากนี้ ขุนมหาวิไชย ยังไดเขียนบทความ “เรื่องไปเที่ยวหัวเมืองลาวฝายตะวันออก” ซึ่งเปนบทความที่เลาถึงการเดือนทางไปอีสาน ของขุนมหาวิไชยรวมกับเพื่อนอีก 2 คน ในชวงป ร.ศ. 111 (พ.ศ. 2435) โดยเริ่มเลาการออกเดินทางตั้งแตกรุงเทพฯ สมุทรปราการ บางปะกง ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ประจันตะคาม กระบินทรบุรี สระแกว วัฒนานคร อรัญประเทศ ทุงศรีโสภณ สารภี สวายจีด ถมอพวก (หินกอง) เขาชองเสม็ด ปากชอง ปากดง สุรินทร ศรีสะเกษ จนถึงอุบล โดยใชระยะเวลาเดินทางทั้งสิ้น 28 วัน นอกจากการบรรยายถึงการเดินทางแลว ขุนมหาวิไชย ยังใหความรูเกี่ยวกับการประกอบอาชีพของชาวอีสานในรอบ 12 เดือน อันประกอบดวย

เดือนอายถึงเดือนยี่ ทําแฝก หุงเกลือ ปนฝาย ปลูกยาสูบ
เดือนสามเดือนสี่ ทอหูกฝาย ผูชายเขาปาหาที่ตัดไร (หาที่ทํากิน)
เดือนสี่เดือนหา เผาสุมพื้นไร
เดือนหก ลงมือปลูกพืชในพื้นที่ที่ถากถางมาได้ เชน ปลูกออย ขาว ฝาย อุลิต (แตงโม) และแตงไทย สวนงานของผูหญิงในเดือน 5 ถึง เดือน 6 คือตัดตนมอน (หมอน) แลถางหญาในสวนมอน (หมอน) บางทีก็ทอหูกผาทําเปนผาซิ่น ผานุงผูชาย ผาขาวมาบาง
พอถึงเดือนเจ็ด เดือนแปด ก็จะลงมือดํานาทั่วกันทุกหมูบาน จนถึงเดือนเกาจึงเสร็จสิ้น
ในระหวางเดือนสิบและเดือนสิบเอ็ด ผูหญิงจะนิยมเลี้ยงไหม
ในชวงเดือนสิบเอ็ดถึงเดือนสิบสอง ทุกบานทุกตําบลจะลงมือเกี่ยวขาวเบาและขาวหนัก
พอถึงเดือนสิบสอง ก็ทําการนวดขาวและขนขาวขึ้นยุงฉาง

          ซึ่งถือเปนการประกอบอาชีพในรอบหนึ่งปของชาวอีสาน การใหรายละเอียดเกี่ยวกับการประกอบอาชีพของคนอีสานเปนเดือนๆ นอกจากจะทําใหกลุมชนชั้นนําสยามเห็นภาพของการประกอบอาชีพของคนอีสานในรอบหนึ่งปแลว ยังทําใหขุนมหาวิไชยไดทราบถึงสาเหตุความยากจนของคนในพื้นที่ ดังที่กลาววา

          “เมื่อพิจารณาดูตามกิจการที่ประชุมชนเหลานี้ไดประกอบแลว ก็เห็นวามีความเพียรหาเลี้ยงชีพโดยกวดขัน แตทําไมคนพวกนี้จึงมีความขัดสนขนจนนัก เปนเพราะเหตุใด การหาเลี้ยงชีพที่พวกลาวชาวตะวันออกทั้งหลายไดประกอบโดยความเพียรดังกลาวแลว แตพวกเหลานี้มีความขัดสนขนจนนั้น เปนเพราะสิ่งทั้งปวงที่ทําขึ้นแลจําหนายขายไมใครได ถึงจําหนายไดก็ไดราคาเต็มที่ ความจนเปนเพราะหาเงินยากนี่เอง ใชจะจนเพราะความเกียจครานก็หามิได ถาสิ่งที่เขาทําขึ้นนั้นขายไดราคาแพงพอสมควรแลจําหนายขายไดคลองแลว พวกเหลานี้ก็คงจะร่ํารวยมีเงินทองเปนแน”
          ความคิดเชนนี้แสดงใหเห็นภาพของการเปนคูขนานระหวาง “เมือง” กับ “ชนบท” หรือ “บานนอก” อยางชัดเจน เพราะเมืองในฐานะที่เปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจแบบการตลาด ตัวเงินไดกลายเปนสิ่งที่ใชชี้วัดสถานะความเปนอยูเปนสําคัญ ดังนั้น “ความจน” รวมไปถึง ความไมสําคัญของตัวเงินจึงเปนสิ่งที่อยู่อีกดานของความเปนเมือง และสามารถหาไดใน “ชนบท” และ“บานนอก”

ขอบคุณที่มา : 
แมคคารธี ไดกลาวถึงอาชีพการทําเกลือของคนในบริเวณอีสาน ขณะที่เดินทางผานโคราชไปสูหนองคาย ในป พ.ศ. 2427 เมื่อคราวที่ทําการสํารวจเพื่อทําแผนที่สยาม วา “ที่นั่นมีการทําเหมืองเกลือซึ่งมีสะสมอยูเปนปริมาณมากในลาน...เขาจะตองเอาหนาดินเหลานี้ใสลงในลํารางหยาบๆ ซึ่งโดยมากทําจากลําตนไมขุดใหเปนโพรง ดานลางเจาะชองใหน้ําไหลได แลวเอาน้ําที่ละลายผสมกับดินถายจากรางลงภาชนะอื่นทางชองนั้น ดําเนินกรรมวิธีดังนี้จนกวาน้ํานั้นจะไมมีรสเค็มอยูอีกตอไป แลวนํา
น้ําในภาชนะนั้นไปทําใหระเหยแหงเหลือแตผงเกลือไว”(พระวิภาคภูวดล, บันทึกการสํารวจและบุกเบิกในแดนสยาม, แปลโดย สุมาลี วีรวงศ(กรุงเทพฯ: โรงพิมพกรมแผนที่ทหาร, 2533), หนา 44 และหนา 2529-2536)