-->
ขุขันธ์ เมืองเก่า ชนทุกเผ่าสามัคคี บารมีพระแก้วเนรมิตวัดลำภูคู่หลวงพ่อโตวัดเขียน กระอูบ เกวียน ครุน้อย เครื่องจักสาน ปราสาทโบราณเป็นศรี ประเพณีแซนโฎนตา...ต้นไม้จะอยู่ได้ก็เพราะราก ชาติจะอยู่ได้ก็เพราะวัฒนธรรม การทำลายต้นไม้ ง่ายที่สุด คือทำลายที่ราก การทำลายชาติไม่ยาก ถ้าทำลายวัฒนธรรม...ไร้รากเหง้า วัฒนธรรม วิถีชีวิต และจิตวิญญาณ ไร้เรา...

วันอาทิตย์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566

เรื่องราวเกี่ยวกับเมืองขุขันธ์อดีต-ปัจจุบัน

เรื่องราวเมืองขุขันธ์...เริ่มต้นที่ยุคเมืองมหานคร (Angkor អង្គរ) คลิก 
บทที่ ๑ บทนำ : อาณาจักรโบราณที่เกี่ยวข้องกับเมืองขุขันธ์
อาณาจักรฟูนันอาณาจักรเจนละอาณาจักรกัมพูชา
ความสัมพันธ์ของขอม – ขุขันธ์
ขุขันธ์ชุมชนโบราณในราชมรรคาหรือชุมชนโบราณในเส้นทางสายปลายปราสาท
ที่ตั้งเมืองเมืองขุขันธ์ หรือเมืองโคกขัณฑ์ หรือเมืองโคกลำดวนในอดีต

บทที่ ๒ การตั้งเมืองขุขันธ์ และเมืองที่ขึ้นต่อการปกครองของเมืองขุขันธ์
- เมืองขุขันธ์สมัยอยุธยาตอนต้น
เมืองขุขันธ์สมัยอยุธยาตอนปลาย
เมืองขุขันธ์สมัยกรุงธนบุรี
เมืองขุขันธ์สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
เหตุการณ์เปลี่ยนแปลงประวัติศาสตร์เมืองขุขันธ์ครั้งสำคัญ
การเปลี่ยนตำแหน่ง “เจ้าเมือง” เป็นตำแหน่ง “ผู้ว่าราชการเมือง”
การยุบ "เมือง" เป็น “อำเภอ”
เตรียมการย้ายศาลาว่าราชการเมืองขุขันธ์ ไปตั้งที่ เมืองศีร์ษะเกษ
เปลี่ยนชื่อ "เมืองขุขันธ์" เป็นชื่อ "จังหวัดขุขันธ์"
การเปลี่ยนแปลงระบอบปกครอง พ.ศ. 2475
“จังหวัดขุขันธ์” ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น “จังหวัดศีร์ษะเกษ”
คุ้มชุมชนดั้งเดิมเมืองขุขันธ์
การแยกพื้นที่เมืองขุขันธ์บางส่วนตั้งเป็นเมืองเดชอุดม
การขอตั้งเมืองกันทรลักษ์และเมืองอุทุมพรพิสัย
การขอตั้งเมืองเมืองกันทรารมย์

บทที่ ๓ ผู้ปกครองเมืองขุขันธ์ในอดีต
ประวัติเจ้าเมืองขุขันธ์
ทำเนียบเจ้าเมือง และ ผู้ปกครองเมืองขุขันธ์ - จังหวัดศรีสะเกษ
ข้าหลวงประจำเมืองจากส่วนกลางมากำกับดูแลเมืองขุขันธ์
วงศ์ตระกูลเจ้าเมืองขุขันธ์(ผังเครือญาติหลัก)

บทที่ ๔ ประวัติการสร้างอนุสาวรีย์พระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน(ตากะจะ)
ประวัติเมืองขุขันธ์โดยสังเขป
ประวัติพระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน (ตากะจะ) ผู้สร้างเมืองขุขันธ์
วัตถุประสงค์ในการสร้างอนุสาวรีย์ฯ
ประวัติความเป็นมาการสร้างอนุสาวรีย์

บทที่ ๕ อำเภอขุขันธ์
ประวัติความเป็นมา
ลักษณะที่ตั้ง / อาณาเขตติดต่อ / ลักษณะภูมิประเทศ / พื้นที่การใช้ประโยชน์ / ประชากร/อาชีพ/รายได้
อำเภอขุขันธ์มีพื้นที่ติดกับกัมพูชาหรือไม่ ?
การปกครอง / สภาพทางเศรษฐกิจ / การคมนาคม
การศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ขอบเขตตำบลในอำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ
ทำเนียบผู้ดำรงตำแหน่งนายอำเภอขุขันธ์

บทที่ ๖ มรดกทางศิลปวัฒนธรรมเมืองขุขันธ์

หมวดที่ ๑ การศาสนาและประวัติวัด
ที่เกี่ยวข้องกับการตั้งเมืองขุขันธ์ทั้ง ๘ วัด ดังนี้
- วัดเขียนบูรพาราม   (แวะเยี่ยมชมอัลบั้มภาพเพิ่มเติม)
- วัดบกจันทร์นคร    (แวะเยี่ยมชมอัลบั้มภาพเพิ่มเติม)
- วัดไทยเทพนิมิตร  (แวะเยี่ยมชมอัลบั้มภาพเพิ่มเติม)
- วัดเจ๊กโพธิ์พฤกษ์   (แวะเยี่ยมชมอัลบั้มภาพเพิ่มเติม)
- วัดสะอางโพธิ์ญาณ    (แวะเยี่ยมชมอัลบั้มภาพเพิ่มเติม)
- วัดกลางอัมรินทราวาส  (แวะเยี่ยมชมอัลบั้มภาพเพิ่มเติม)
- วัดบ้านแทรง   (แวะเยี่ยมชมอัลบั้มภาพเพิ่มเติม)
วัดรัมพนีวาส(วัดบ้านลำภู)  (แวะเยี่ยมชมอัลบั้มภาพเพิ่มเติม)
วัดอื่นๆ 
วัดโสภณวิหาร ต.กันทรารมย์ (แวะเยี่ยมชมอัลบั้มภาพเพิ่มเติม)
- วัดจันทราปราสาท ต.ปราสาท (แวะเยี่ยมชมอัลบั้มภาพเพิ่มเติม)

หมวดที่ ๒ การศิลปะวัฒนธรรม
๑) โบราณสถาน ได้แก่
- ปราสาทตาเล็ง ต.ปราสาท (แวะเยี่ยมชมอัลบั้มภาพเพิ่มเติม)
ปราสาทตระเปียงยุม ต.จะกง
- ปราสาทพระจำรุง ต.ดองกำเม็ด
- ปราสาทกุด ต.ห้วยเหนือ
- โบสถ์วัดเขียนบูรพาราม
- เจดีย์ตาปราสาทบ้านแทรง
- ศาลหลักเมืองโบราณของเมืองขุขันธ์
- วิหารวัดโสภณวิหาร
สถูปคู่บรรจุอัฐิธาตุของบรรพชนเป็นรูปยอดบัว ณ วัดโสภณวิหาร
โบราณสถานอื่นๆ 
ปราสาททามจาน

๒)โบราณวัตถุ ได้แก่
- หลวงพ่อโตวัดเขียน
- องค์พระแก้วเนรมิต
- พระพุทธรูปยืน- ตู้พระธรรมวัดเจ็ก
- พระแผงไม้แกะสลัก
- ฐานศิวลึงค์

หมวดที่ ๓ ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมและการละเล่น
- ประเพณีแซนโฎนตาโดยสังเขป , สคริปต์โดยละเอียด
- คำกล่าวอัญเชิญเทวดาและดวงวิญญาณโฎนตาเมืองขุขันธ์ พ.ศ. 2556 , 2557
บุญปูนพนมโซร็ว(បុណ្យពូនភ្នំស្រូវ)
พิธีบนกมูจอ็อวเกรงเปรียด* หรือพิธีเผาศพปู่กล้วยของชาวบ้านในสังกัดวัดบ้านปรือคัน
- การเล่นแม่มด
- ท่ารำประกอบเพลงรำแม่มด 11 ท่า
- แกลจะเอง ตำบลปรือใหญ่
- ประเพณีก่อเจดีย์ทรายและสรงน้ำพระเดือน ๕
- การเล่นกันตรึม
- การละเล่นเจรียง
- การละเล่นอาไย
- การเล่นมโหรีปี่พาทย์
"ตาจุม"...ศิลปินเจรียงโบราณ

หมวดที่ ๔ ศิลปะหัตถกรรม ภูมิปัญญาชาวบ้าน
และผลิตภัณฑ์ OTOP อำเภอขุขันธ์
- ครุน้อยบ้านสะอาง
- ช่างเกวียนมืออาชีพ และเกวียนน้อยบ้านใจดี
- ผอบ หรือกะอูบใบตาลบ้านหนองก๊อก
- กระเป๋าใบเตยบ้านตาทึง และบ้านหนองทับ
- ผ้าลายลูกแก้วย้อมมะเกลือ
- ลูกปะคบสมุนไพร
- กระบุง กับ กระเชอ
- ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านต่างๆ

หมวดที่ ๕ อักษรศาสตร์ ภาษา ตำราและใบลานเมืองขุขันธ์
ฉลองอัฐิ วัดปรือใหญ่
กำมวิบาก วัดลำภู
อนิสงสฺมุกขฺสุพทฺ วัดลำภู
ฉลองบิณฑ์ วัดตะเคียนบังอีง(พ.ศ.2532)
อนิสงสฺตำมฺโพธิพฤกสฺ วัดบ่อทอง
- สัพวฺทานเล็กแบบสมัยโบราณ วัดบ่อทอง
- อุปปฺคุตฉบับย่อ วัดบ่อทอง
ฉลองบิณฑ์ จากวัดบ่อทอง
- ฉลองเจติย์ ​วัดลำภู (16/11/2559)
ธมฺมเทสฺนาบุณฺยบิณ จากวัดบ้านแขว (18มกราคม 2559)
ธมฺมเทสฺนาคมฺพีร อุปฺปคต จากวัดบ้านแขว (18มกราคม 2559)
คัมภีร์ใบลานภาษาขอมชุดสุดท้ายที่ยังคงเหลืออยู่ที่วัดบกจันทร์นคร
- ตำรารักษาโรคของเมืองขุขันธ์ อายุกว่า 280 ปี จากตำบลกันทรารมย์
ตำราใบลานเสจฺกดียฺธํมฺมฌาน ขแส ๔ กัณฑ์ที่ 4 จากวัดทุ่งบังอีงวิหาร
- กรังสัตราโหราศาสตร์ขอมโบราณเมืองโคกขัณฑ์
สมุดบันทึกวิปัสนาสามเณรยูร ตายอ
ใบลานประวัติเมืองขุขันธ์ จารโดยบรรพบุรุษเมืองขุขันธ์ ก่อน พ.ศ.2460
- ทำเนียบผู้รู้/นักปราชญ์ผู้ปิดทองหลังตำราใบลานเมืองขุขันธ์
คำว่า "กาโงก" หรือ "กาโหงก" หมายถึงอะไร?
>> รายละเอียดเพิ่มเติมที่เวปไซต์



หมวดที่ ๖ คติเตือนใจ สำนวนสุภาษิต และคำพังเพยโบราณเมืองขุขันธ์

- "ผู้รู้ตกนรก คนโง่ขึ้นสวรรค์"
- "อยากเป็นปราชญ์ให้ขยัน โจงกระเบนมั่น หากินง่าย"

บทที่ ๗ เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับเมืองขุขันธ์
คณะติดตามช้างเผือกจากกรุงศรีอยุธยาผ่านมาถึงบ้านปราสาทสีเหลี่ยมโคกลำดวน
หัวหน้า “เขมรป่าดง” ได้บรรดาศักดิ์และตำแหน่ง
นายกองหมู่บ้านได้เลื่อนบรรดาศักดิ์ และยกฐานะชุมชนหมู่บ้านขึ้นเป็น “เมือง”
ความเดิมในการตั้งเมืองขุขันธ์
บ้านปราสาทสี่เหลี่ยมโคกลำดวน ก่อนที่จะยกฐานะมาเป็นเมืองขุขันธ์ อยู่ที่ไหน?
เมืองขุขันธ์ ในอดีต เมื่อ พ.ศ. 2460 นั้นไซร้กว้างใหญ่นักหนา
ตำแหน่งข้าหลวงกำกับเมืองบริเวณขุขันธ์
การประหารชีวิตนักโทษ
ท้าวบุญจันทร์ถูกกล่าวหาว่าเป็นกบฎ
เสือยง หรือ ตังเคายง-ชุมโจรแห่งเมืองศรีสะเกษ
โรงฝิ่นเมืองขุขันธ์
ดาบประจำตำแหน่งเมืองขุขันธ์
กำแพงเมืองโบราณ
กรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศส
รัฐบาลไทยกับฝรั่งเศสขัดแย้งกัน
เหตุการณ์ในเมืองขุขันธ์ครั้งไทยพิพาทย์อินโดจีน
โขนจังหวัดขุขันธ์
นามสกุลพระราชทานในเมืองขุขันธ์
การสำรวจสำมโนประชากรครั้งแรกของเมืองขุขันธ์
ต้นตาล ๙ ยอด ๙ พระยาแห่งเมืองขุขันธ์
การปฏิรูปการสื่อสารโทรเลขระหว่างขุขันธ์-เสียมเรียบ-นครจำปาศักดิ์ เมื่อ พ.ศ. 2428
พระราชบัญญัติพระราชทานวิสุงคามสีมาที่เกี่ยวข้องกับขุขันธ์ในอดีต

บทที่ ๘  ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่น่าสนใจ
นายหอม  พฤกษา  ปราชญ์ชาวบ้านด้านศาสนพิธี อ.ขุขันธ์ จ.ศรีสะเกษ 
นายธีรัชพัฒน์  ย่อทอง อสม.ดีเด่น ระดับชาติ สาขาสุขภาพจิตชุมชน ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๘
"ตาจุม"...ศิลปินเจรียงภาษาขอมโบราณที่เหลือเพียงคนเดียวของอำเภอขุขันธ์
นายเจริญ ปรือปรัก ผู้ใหญ่บ้านยอดเยี่ยมของจังหวัดศรีสะเกษ ประจำปี 2559

บทที่ ๙ เรื่องราวอื่นๆที่น่าสนใจในจังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดใกล้เคียง และประเทศเพื่อนบ้าน
ที่มาของคำว่า "อีสาน"
ที่มาของคำว่า "สุวรรณภูมิ"
- จารึกพระวิหาร 1 และจารึกพระวิหาร 2
- อักษรศิลาจารึกสมัยก่อนพระนคร - ปัจจุบัน
- ลายมือสวยคัดลอกอักษรโบราณก่อนสมัยพระนครและสมัยพระนคร
อักษรภาษาโบราณที่พบในดินแดนสุวรรณภูมิในช่วงพุทธศตวรรษที่10-24
- แบบเรียนหนังสือขอมไทย
- ประวัติศาสตร์กัมพูชา แต่ละยุคสมัยเรียกว่าอย่างไรบ้าง?
"เมืองเขมรป่าดง" เมื่อปี พ.ศ. 2379 ประกอบด้วย 31 เมือง
คำว่า "เขมรป่าดง" เมื่อปี พ.ศ. 2449
การตั้งเมืองราษีไศล (พ.ศ. 2424)
การตั้งเมืองชุมพลบุรี (พ.ศ. 2425)
การแยกพื้นที่เมืองขุขันธ์บางส่วนตั้งเป็นเมืองเดชอุดม(พ.ศ.2388)
การตั้งเมืองศรีสะเกษ (พ.ศ. 2325)และยุบเมืองศรีสะเกษ (พ.ศ. 2450)
ปัญหาการเก็บภาษีจากหัวเมืองต่างๆ ในบริเวณอีสาน พ.ศ. 2373 - 2434
การตั้งบ้านกุดไผท หรือบ้านจารพัด และบ้านลำดวนเป็นเมือง (พ.ศ. 2412)
- การประกอบอาชีพของชาวอีสานในรอบ 12 เดือน เมื่อปี พ.ศ. 2427
ประเพณีต่างๆ ในรอบ 12 เดือนของชาวอีสาน เมื่อปี พ.ศ. 2439
- ประวัติหลวงพ่อโต วัดมหาพุทธาราม(วัดพระโต) จังหวัดศรีสะเกษ (ข้อมููลเพิ่มเติมรอการตรวจสอบ)
- ตามรอยพระยุคลบาท ร.9 เสด็จพระราชดำเนิน จ.ศรีสะเกษ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498
เพลงศรีสะเกษเมืองงาม (ร้องสด โดยคณะพอ.สว.ศรีสะเกษ)
คำว่า ส่วย ไม่ใช่ชื่อเรียกของชนชาติพันธุ์ แต่เป็นวาทะกรรมในอดีต

- หลักฐานที่ยืนยันว่าชนชาติพันธุ์กูย กวยเป็นที่รู้จักมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา คือ พระอัยการอาญาหลวง พ.ศ. 1976 กล่าวถึงในการห้ามหญิงไทยกับคนต่างด้าวในปี พ.ศ 1976
ที่มาของคำว่า กระโพ กระโพธิ์ ที่เป็นชื่อหมู่บ้านตำบลแถบจังหวัดอีกสานใต้มีที่มาอย่างไร ?

วิถีชีวิตชาวกวย ที่ประเทศกัมพูชา มีความเหมือนหรือแตกต่างจากบ้านเราอย่างไร ?
- พระพุทธบาท ที่พบที่ตำบลส้มป่อย เป็นพระพุทธบาทจำลอง เมื่อปี พ.ศ. 2472 อยู่ในพื้นที่ของจังหวัดขุขันธ์
บารมีพระพุทธรูปองค์พระจังหันอุ่น เมืองเสียมราฐ ประเทศกัมพูชา
- คำว่า "กำพงจาม" ที่ถูกต้องคือ "กำพงจำ" (พ.ศ. 2467/ ค.ศ.1924) คลิก

ภาคผนวก : เอกสารประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจ
- "พระสยามเทวาธิราช"...เทพผู้ปกปักรักษาราชอาณาจักรสยาม
- หอพระสมุดวชิรญาณ
- พระราชลัญจกรพระบรมราชโองการฯก่อน พ.ศ. 2483 ข้อความในแพรแถบตอนล่างสุดเป็นอักษรขอม
พระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนนามจังหวัด และอำเภอบางแห่ง พุทธศักราช ๒๔๘๑
เพลง "รักเธอเสมอ" โดย พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ ทรงเคยขับร้อง
การใช้ศักราชในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน : พ.ศ. ไทย กับ กัมพูชา ทำไมจึงต่างกัน ?
- ภาพถ่ายการศึกษาดูงานพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติจังหวัดอุบลฯ(13ธันวาคม 2561) คลิก 

ภาคผนวก
- เหตุการณ์ที่สำคัญและเกี่ยวกับเมืองขุขันธ์ จังหวัดขุขันธ์ และอำเภอขุขันธ์ จากอดีตถึงปัจจุบัน
การชำระประวัติศาสตร์เมืองขุขันธ์
- ภาคผนวก ก บัญชีรายชื่อตำบล/หมู่บ้าน
- ภาคผนวก ข บัญชีผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์อำเภอขุขันธ์
- ภาคผนวก ค ทำเนียบภูมิปัญญาท้องถิ่นสาขาอาชีพต่างๆ
- ภาคผนวก จ คำสั่งคณะกรรมการชำระประวัติศาสตร์ “เมืองขุขันธ์”
- ภาคผนวก ฉ รายนามคณะกรรมการจัดทำหนังสือ “เมืองขุขันธ์”

ดร.วัชรินทร์ สอนพูด ประธานสภาวัฒนธรรมอำเภอขุขันธ์
นายสุเพียร คำวงศ์ เลขานุการสภาวัฒนธรรมอำเภอขุขันธ์

สนับสนุนโดย